ศาสดาเอกของโลก (๔)
แต่...ไม่มีใครรู้ว่าสันติสุขที่แท้จริงนั้นอยู่ที่ไหน จะเข้าถึงได้อย่างไร จนกระทั่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงค้นพบว่า การที่จะทำให้เกิดสันติสุขที่แท้จริง
คุณลักษณะของพระโพธิสัตว์
พลังใจของมนุษย์เริ่มต้นจากแรงบันดาลใจที่ยิ่งใหญ่ และความใฝ่ฝันอันสูงส่ง จึงทำให้อยากลงมือทำ เพื่อให้ภาพที่มีอยู่ในใจนั้นเป็นจริงขึ้นมา แม้สิ่งนั้นจะยากลำบากเพียงใด แต่ด้วยความเพียรพยายามครั้งแล้วครั้งเล่า
การแก้คำกล่าวหาแบบพุทธวิธี
ภิกษุใด ชนะหนามคือกาม ชนะการด่า การฆ่า และ การจองจำได้ ภิกษุนั้น เป็นผู้มั่นคงไม่หวั่นไหวดุจภูเขา ย่อมไม่หวั่นไหวในสุข และทุกข์
พระศรีอริยเมตไตรย์ ตอนที่ 1 เกริ่นนำ
เรื่องราวของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์สุดท้ายของภัทรกัปนี้
ชัยชนะครั้งที่ 6 (ตอนที่ 4 ชนะสัจจกนิครนถ์)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความปรากฏขึ้นแห่งบุคคลเอก เป็นความปรากฏแห่งจักษุใหญ่ แห่งแสงสว่างใหญ่ แห่งโอภาสใหญ่ แห่งอนุตตริยะ เป็นการกระทำให้แจ้งซึ่งปฏิสัมภิทา ๔ เป็นการแทงตลอดธาตุธรรม
ชัยชนะครั้งที่ 6 (ตอนที่ 6 ชนะสัจจกนิครนถ์)
อาสวะเหล่าใดที่ทำให้เศร้าหมอง ให้เกิดภพใหม่ มีวิบากเป็นทุกข์ ให้มีชาติ ชรา มรณะต่อไป บุคคลใดยังละไม่ได้ นั่นแหละเป็นคนหลง แต่ถ้าละกิเลสเหล่านั้นได้แล้ว นับว่าเป็นผู้ตื่นอยู่ทุกเมื่อ
ชัยชนะครั้งที่ 6 (ตอนที่ 3 ชนะสัจจกนิครนถ์)
พระพุทธเจ้าผู้เป็นพระธรรมราชา ผู้ส่องแสงสว่างไสว ยังไม่เสด็จอุบัติขึ้น เพียงใด ชนทั้งหลายก็พากันบูชาสมณพราหมณ์เหล่าอื่นอยู่เป็นอันมาก เพียงนั้น แต่เมื่อใด พระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้มีพระสุรเสียงอันไพเราะ ได้ทรงแสดงธรรมแล้ว เมื่อนั้น ลาภและสักการะของพวกเดียรถีย์ก็เสื่อมไป
ชัยชนะครั้งที่ 6 (ตอนที่ 2 ชนะสัจจกนิครนถ์)
บรรดาสิ่งที่งอกขึ้น ความรู้เป็นสิ่งที่ประเสริฐ บรรดาสิ่งที่ตกไป อวิชชาเป็นเลิศ บรรดาสัตว์ที่เดินด้วยเท้า พระสงฆ์เป็นผู้ประเสริฐสุด บรรดาชนผู้แถลงคารม พระพุทธเจ้าเป็นผู้ประเสริฐสุด
ชัยชนะครั้งที่ 6 (ตอนที่ 1 ชนะสัจจกนิครนถ์)
พระจอมมุนีทรงรุ่งเรืองด้วยประทีปคือปัญญา ได้ทรงชนะสัจจกนิครนถ์ผู้เป็นคนมืดบอด มีอัธยาศัยไม่ยอมรับความจริง มีใจคิดแต่จะยกตนข่ม ด้วยเดชแห่งพุทธชัยมงคลนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน
มงคลที่ ๓๓ เห็นอริยสัจ - พระปิณโฑลภารทวาชเถระ ตอนที่ ๒
ในวันที่๗ พระพุทธองค์เสด็จออกจากนิโรธสมาบัติ แล้วมาประทับยืนอยู่ที่ประตูถ้ำ ราชสีห์ทราบว่าพระพุทธองค์ออกจากสมาธิแล้ว จึงทำประทักษิณ ด้วยการเดินเวียนขวารอบพระพุทธองค์ ๓รอบ เป็นการแสดงการเคารพนอบน้อมและเปล่งสีหนาทขึ้นด้วยเสียงดังกึกก้อง แทนการกล่าวสรรเสริญด้วยความเลื่อมใส