The Harm of Mental Defilements
The Lord Buddha stresses that the three categories of defilement: greed, hatred and delusion are like usurpers in the mind. They darken our minds and obstruct us from enlightenment.
มหาสมัยสูตรครั้งที่ 3 (ตอนภพมารสะดุ้ง)
เราจะบอกมลทินอันยิ่งกว่ามลทินนั้น อวิชชาเป็นมลทินอย่างยิ่ง ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลาย เมื่อละมลทินนั้นได้แล้ว ย่อมเป็นผู้หมดจด
มหัศจรรย์วันออกพรรษา
พระจันทร์ พระอาทิตย์ ซึ่งปราศจากมลทิน ย่อมแจ่มกระจ่างในท้องฟ้า ซึ่งปราศจากเมฆฝน ฉันใด ข้าแต่พระองค์ ผู้มีพระรัศมีซ่านออกแต่พระสรีรกาย ผู้เป็นมหามุนี พระองค์ย่อมรุ่งเรืองล่วงสรรพสัตวโลก ด้วยพระยศ ฉันนั้น ดังนี้
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 108
พระเจ้าวิเทหราชทรงสดับถ้อยแถลง ของมโหสถแล้ว ก็ทรงเข้าใจแจ่มแจ้ง และทรงเห็นชัดว่า มโหสถบัณฑิตเป็นผู้บริสุทธิ์ ปราศจากมลทิน แต่ผู้ผิดกลับเป็นอาจารย์ทั้ง ๔ เสียเอง จึงทรงสั่งลงอาญาให้คุมตัวอาจารย์ทั้ง ๔ ออกจากเรือนจำ แล้วนำตัวไปตัดหัวเสีย
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 87
ครั้นมโหสถบัณฑิตได้พิสูจน์ให้พระเจ้าวิเทหราช ทรงทราบถึงเจตนาที่บริสุทธิ์ของตน กระทั่งเปลื้องมลทินจนหมดสิ้นแล้ว จึงคิดในใจว่า “บัดนี้เป็นโอกาสที่เราจะได้กล่าวทักท้วงพระองค์ในข้อที่ทรงทำเกินกว่าเหตุ เป็นข้อบกพร่องที่พระองค์ควรจะทรงรับรู้ไว้บ้าง”
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - เศรษฐีผู้มีใจตระหนี่
คนตระหนี่กลัวความยากจนย่อมไม่ให้อะไรแก่ผู้ใด ความกลัวจนนั่นแหละ จะเป็นภัยแก่ผู้ไม่ให้ คนตระหนี่ย่อมกลัวความอยากข้าวอยากน้ำ ความกลัวนั่นแหละจะกลับมาสู่คนพาลทั้งในโลกนี้และโลกหน้า เพราะเหตุนั้น บัณฑิตพึงครอบงำมลทินกำจัดความตระหนี่เสียแล้วให้ทานเถิด เพราะบุญย่อมเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลายในโลกหน้า
วันวิสาขบูชา ตอน วันประสูติ
ดวงจันทร์ในคืนวันเพ็ญปราศจากมลทิน โคจรไปในอากาศย่อมสว่างกว่าหมู่ดาวบนท้องฟ้า ด้วยกำลังแห่งรัศมี ฉันใดพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเมื่อทรงอุบัติขึ้นย่อมรุ่งโรจน์กว่าสรรพสัตว์ทั้งหลาย ฉันนั้น
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๓ ( ฉายแววปราชญ์ )
ธรรมดาดวงจันทร์ในคืนวันเพ็ญปราศจากมลทิน โคจรไปในอากาศ ย่อมสว่างกว่าหมู่ดาวบนท้องฟ้า ด้วยกำลังแห่งรัศมี ฉันใด พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เมื่อทรงอุบัติ ย่อมรุ่งโรจน์กว่าสรรพสัตว์ทั้งหลาย ฉันนั้น ความอัศจรรย์แห่งพระสัทธรรมที่พระองค์ทรงแสดง จะลบล้างความเห็นผิด และความยึดมั่นถือมั่นในสิ่งที่ไม่เป็นสาระ ของผู้ไม่รู้
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๒ )
บุคคลให้ทานไม่ได้เพราะเหตุผล ๒ ประการ คือ ความ ตระหนี่ และความประมาท บัณฑิตผู้รู้แจ้ง เมื่อต้องการบุญพึงให้ทาน คนตระหนี่กลัวความอดอยากยากจน เพราะความกลัวจนนั่นแหละ จะเป็นภัยแก่ผู้ไม่ให้ และจะกลับมามีผลต่อคนพาลผู้หลงผิด ฉะนั้น บัณฑิตพึงครอบงำมลทิน กำจัดความตระหนี่แล้วรีบให้ทาน เพราะบุญเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า
พิธีอุปสมบทอุทิศชีวิต สามเณรเปรียญธรรม 9 รูป | วันวิสาขบูชา พ.ศ. 2568
พิธีอุปสมบทสำหรับสามเณรเปรียญธรรม 9 รูป ในวันวิสาขบูชา ณ วัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี สอบถามรายละเอียดที่ 08 5163 0620