มงคลที่ ๒๒ มีความเคารพ - ทางมาแห่งปัญญาบารมี
จากเรื่องนี้ จะเห็นได้ว่า ขนาด พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้เป็นบรมศาสดาเอกของโลก ก็ยังทรงเคารพพระธรรมที่พระองค์ได้ตรัสรู้ เพราะความเคารพในธรรมเป็นทางมาแห่งความเจริญรุ่งเรือง ไม่เป็นไปเพื่อความเสื่อม ในพระไตรปิฎกมีหลายสูตรที่พระพุทธองค์ตรัสเรื่องความเคารพไว้ ทรงสั่งสอนทั้งแก่ภิกษุภิกษุณี อุบาสกอุบาสิกา และเหล่าเทวดา ไม่ว่าจะเป็นการเคารพในพระศาสดา เคารพในพระธรรม เคารพในพระสงฆ์ เคารพในการศึกษา เคารพในสมาธิ เคารพในความไม่ประมาท และเคารพในการปฏิสันถาร
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - พระิอินทร์มาเตือนสติ
ู้ประพฤติผิดศีลผิดธรรม ไม่เลี้ยงดูบิดามารดา เป็นคนอกตัญญู ดูหมิ่นผู้มีพระคุณ คนเหล่านี้แหละที่เป็นศัตรูของเรา สุนัขดำจะเคี้ยวกินผู้ที่ไม่มีจิตเมตตา ชอบรังแกเบียดเบียนผู้อื่น ไม่ประกอบ สัมมาอาชีวะ ประพฤติผิดในกาม แสวงหาความสุขบนความทุกข์ของผู้อื่น หมกมุ่นอยู่ในอบายมุข โดยไม่ทำความดีอะไร
คหบดีผู้สละเรือนออกบวช
คราวนี้ กระผมจึงหันมาสนใจและอ่านหนังสือพระพุทธศาสนา เมื่อได้อ่านจึงทราบว่า ความหมายของการบวชนั้นคืออะไร บวชไปก็เพื่อตัดความกังวลในเรื่องครอบครัว หากสิ่งที่สละได้ยาก แต่สามารถสละได้ สิ่งที่กระทำได้ยาก แต่สามารถกระทำได้ อย่างนี้จึงจะสามารถมีความเป็นอิสระ พบกับความสุขของชีวิตที่แท้จริง
ลีลาผลบุญ-บาป
มงคลที่ ๑๘ ทำงานไม่มีโทษ - กรณียกิจ
กรณียกิจที่สำคัญสำหรับการเกิดมาเป็นมนุษย์ เป็นงานที่มีแต่คุณอย่างเดียว ไม่มีโทษแม้แต่น้อย เมื่อเราเข้าถึงแล้ว ชีวิตของเราก็จะสมบูรณ์ แต่หากยังเข้าไม่ถึง ชีวิตก็ไม่ต่างไปจากนกกา ที่ตื่นแต่เช้าออกไปทำมาหากิน กลับมานอนหลับพักผ่อน วนเวียนกันไปเช่นนี้ จนกระทั่งแก่ชรา และตายไปในที่สุด เช่นนี้เรียกว่า เกิดมาตายฟรี ชีวิตไม่มีสาระ
หนังสือธรรมะ 'ได้ใจ' คนรุ่นใหม่"เสียดาย...คนตายไม่ได้อ่าน" เล่ม2 คลอดแล้ว!!
มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - ทำอย่างไรถึงมีความสุข
วิธีการง่ายๆ ที่จะทำให้ทุกข์ทั้งหลายมากล้ำกรายเราไม่ได้ คือ การปฏิบัติตามหลักธรรมที่พระบรมศาสดาทรงประทานไว้แก่พระอรหันตสาวก ๑,๒๕๐ องค์ในวันมาฆบูชาว่า สพฺพปาปสฺส อกรณํ การไม่ทำบาปทั้งปวง เพราะผลของบาปคือความทุกข์ ตั้งแต่งดเว้นจากกรรมกิเลส ๔ ประการ คือ
มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - ต้นแบบแห่งความดี
เราเกิดมาเพื่อสร้างบารมี การสร้างบารมีเป็นงานที่แท้จริงของมวลมนุษยชาติ พระบรมโพธิสัตว์ในกาลก่อนท่านทำอย่างนี้ คือสร้างบารมีไปจนกว่าบารมีจะเต็มเปี่ยม ได้บรรลุจุดหมายปลายทางของชีวิต ดังนั้น เราเกิดมาภพชาติหนึ่ง ก็เพื่อสั่งสมบุญบารมีเท่านั้น บุญที่เราได้ทำไว้ดีแล้ว จะเป็นเสบียงในการเดินทางไกลในสังสารวัฏ ทำให้เรามีความสุขตลอดเส้นทางของชีวิต
มงคลที่ ๑๓ สงเคราะห์ภรรยา(สามี) - คู่บุญคู่บารมี
สามีภรรยาจะต้องรู้จักความเป็น "ผู้ให้" ซึ่งกัน และกัน ตั้งแต่การให้ข้าวของเครื่องใช้ ให้คำพูดที่ไพเราะจริงใจ ให้ความช่วยเหลือเกื้อกูล รู้จักให้อภัย รวมถึงให้ความมั่นใจต่อกัน เพราะ "การให้" เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ จะทำให้เป็นคู่บุญ คู่บารมี เป็นครอบครัวแก้วที่มีแต่ความเจริญรุ่งเรืองยิ่งๆ ขึ้นไป
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - จนข้ามภพ รวยข้ามชาติ ( ๕ )
สามเณรเดินต่อไป เห็นช่างศร กำลังเอาลูกศรลนไฟ เล็งดูด้วยหางตา แล้วดัดให้ตรง จึงเรียนถามพระเถระด้วยความอยากรู้ ตามประสาเด็กอายุ ๗ ขวบ ที่มีบารมีแก่กล้า เมื่อได้คำตอบแล้ว ก็ตรึกธรรมะไปว่า ถ้าสามารถดัดลูกศรที่ไม่มีจิต ให้ตรงได้ ทำไมหนอ คนซึ่งมีจิตแท้ๆ จึงไม่สามารถบังคับจิตของตนเองได้"
เครือข่ายคณะแพทยศาสตร์ชี้มหาวิทยาลัย ต้องผลิตหมอรุ่นใหม่-"แพทย์ไทยหัวใจพระโพธิสัตว์"
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - สารธรรมของชีวิต
มนุษย์ทุกคนที่เกิดมา ต่างแสวงหาทางหลุดพ้นจากความทุกข์ ซึ่งเป็นสาระที่แท้จริงสำหรับชีวิต แต่เนื่องจากปัญญาและวิจารณญาณที่แตกต่างกัน ทำให้มีการแสวงหากันไปต่างๆ นานา พบทั้งสิ่งที่ถูกต้องและไม่ถูกต้อง ยิ่งถ้าขาดกัลยาณมิตร ก็เหมือนกับคนเดินทางในที่มืด
มงคลที่ ๓ บูชาบุคคลที่ควรบูชา - โอกาสดีที่พบเนื้อนาบุญ
เมื่อตกลงใจอย่างนี้ ท่านรีบจัดทำพัดทันที อยากให้สังเกตตรงนี้ให้ดีว่า สำหรับนักสร้างบารมีนั้น เมื่อตัดสินใจจะสร้างบุญใหญ่ ท่านเหล่านั้นจะคิดแสวงหาบุญเอาเอง และตั้งใจทำสิ่งที่ดีที่สุด เพื่อบูชาบุคคลผู้เลิศที่สุด เหมือนกุลบุตรท่านนี้ ได้สร้างพัดขึ้น แต่วัสดุที่ใช้ ไม่ใช่วัสดุธรรมดา เอาของที่มีค่าที่สุดในสมัยนั้นมาทำ ได้แก่ ทอง เงิน แก้วมุกดา และแก้วมณี
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๓ )
"ระหว่างพระพุทธเจ้ากับท่านอุรุเวลกัสสปะ ใครหนอจะมีอานุภาพมากกว่ากัน" พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงล่วงรู้ความคิดของชาวเมือง จึงตรัสถามท่านว่า "ดูก่อนกัสสปะ ท่านเคยเป็นอาจารย์สั่งสอน หมู่ชฎิลผู้ผ่ายผอมเพราะกำลังประพฤติพรต ท่านเห็นอะไรจึงได้ ละไฟที่เคยบูชาเสียเล่า ท่านเห็นประโยชน์อะไรจึงมาประพฤติพรหมจรรย์กับเรา"
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - บัณฑิตที่แท้จริง
ธรรมดาบัณฑิต เห็นคนไขน้ำเข้านา เห็นช่างศรดัดลูกศร ให้ตรง เห็นช่างถากไม้แล้ว ย่อมถือเอาเหตุนั้นเป็นอารมณ์ มีปัญญารู้แจ้งแทงตลอดในอรหัตตผลได้ เหมือนเรื่องบัณฑิตสามเณร
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๐ ( ต้อนรับบัณฑิตใหม่ )
ฝ่ายมโหสถกลับมีกิริยามั่นคงประดุจขุนเขา ที่ไม่หวั่นไหวในแรงลมที่มากระทบ ได้แต่นึกในใจว่า คราวนี้แหละเราจักสำแดงให้พวกอาจารย์เห็นปรีชาของเราบ้าง พลางกราบทูลอย่างไม่สะทกสะท้านว่า
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๘ ( แก้ปมปริศนา )
ในครั้งนี้ ยังคงนำเรื่องมโหสถบัณฑิตผู้มีปัญญาเฉียบแหลมมาให้ได้ติดตามกันต่อ แม้มโหสถบัณฑิตอายุยังน้อย แต่ก็สามารถแก้ไข หรือพิจารณาอรรถคดีต่างๆ ได้ถูกต้องแม่นยำอย่างน่าอัศจรรย์ จนชนะใจอำมาตย์ว่า บุคคลนี้แหละที่พระราชาทรงสุบินนิมิตว่า ทรงเห็นไฟกองเล็กๆ ผุดขึ้นท่ามกลาง ไฟกองใหญ่ ๔ กอง ไฟกองเล็กนี้สว่างไสว พุ่งขึ้นไปได้ถึงพรหมโลกทีเดียว
ทศชาติชาดก เรื่อง พระเตมีย์ ผู้ยิ่งด้วยเนกขัมมบารมี ตอนที่ 22
จากนั้นก็ทรงมีพระราชดำรัสสั่งให้เปิดท้องพระคลังทั้งหมด และให้จารึกแผ่นทองคำติดไว้ ณ เสาท้องพระโรงว่า “ผู้ใดต้องการทรัพย์สมบัติเงินทองของมีค่า ก็จงมาขนเอาไปจากท้องพระคลังหลวงนั้นเถิด”
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๕ )
แต่ครั้นจะให้ก็กลัวว่า ข้าวปายาสคงไม่เหลือแน่ เพราะมีพราหมณ์ ผู้ไม่ได้รับเชิญ มารอบริโภคภัตของตนถึง ๓ คน แต่ถ้าจะไม่ให้ก็อึดอัด ส่วนความตระหนี่ที่ฝั่งแน่นอยู่ในใจนั้น ก็ยังไม่หลุดออกไปเลยทีเดียว มันรบกันไปรบกันมาอยู่ภายใน ระหว่างให้กับไม่ให้ เมื่อกุศลจิตส่งผลก่อน จึงได้แต่พูดด้วยความลำบากใจว่า
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๕ ( สัตตสตกมหาทาน )
ข้าแต่พระมหาราชเจ้า การตายร่วมกับพระองค์เท่านั้นเป็นสิ่งประเสริฐกว่าการพลัดพรากจากพระองค์ แม้นางช้างพังยังติดตามช้างพลายในป่า อาศัยตามภูผาทางกันดาร ฉันใด หม่อมฉันจะพาบุตรและบุตรีตามเสด็จ ฉันนั้น